ผมได้พักอยู่บ้านของเกษตรกรท่านหนึ่ง เขาบอกว่าเขาได้เป็ดป่ามาตัวหนึ่งและอยากชวนเราท่านอาหารด้วยกัน แอบตกใจนิดหนึ่งที่เห็นเครื่องในเป็ดทั้งตัวไม่ใช่เนื้อเป็ดนะ เมื่อพวกเราไปถึงที่บ้านของเขา ผมได้ลองถามพ่อโฮสว่าเป็ดนี้มันกินอย่างไรเน้อ และเขาก็เริ่มเผ้าขนเจ้าเป็ดที่หามาได้ ในเยอรมันนี่เรากินเป็ดเหมือนกันผมรู้แน่ว่ารสชาติมันเป็นอย่างไร แต่ไม่ได้คิดว่าจะเห็นวิธีการชำและเป็ดตัวนี่เลย

ผมมีความกลัวนิดๆที่ได้เห็นอย่างนั้น แต่เด็กๆในระแหวกนั้นก็อยากจะเห็นเหมือนกัน พวกเขาถอนขนมันออกก่อนเหมือนเป็นสิ่งที่ต้องทำเป็นอย่างแรก ไอเราก็นึกว่าเจ้าพวกเด็กๆจะกลัวเหมือนกับเรา แต่ไม่เลยสักนิดสำหรับเด็ก ๆ พวกเขาแค่อยากช่วย ปกติแล้วเด็กพวกนั้นมักช่วยพ่อแม่เขาปลูกข้าวหรือช่วยหาสมุนไพรบนเขาเหมือนกับพวกเขาโตมาแบบธรรมชาติ ๆ ฉันละนับถือเจ้าเด็กพวกนั้นในความแข็งแกร่งจริง ๆ

เราทำการต้มเป็ดในหม้อที่หันเป็นชิ้นๆ ฉันเห็นทุกคนเขาทำกับข้าวร่วมกันอยู่หลายครั้งเมือตอนฉันได้มาอยู่กับครอบครัวคนญี่ปุ่น มันเหมือนกับว่าเราปาร์ตี้ทำกับข้าวกัน ส่วนผสมที่ใช้ในการปรุงอาหารส่วนใหญ่นั้นมาจากพื้นที่รอบๆนั่น และเขาก็ทำอาหารหลายอย่างมาให้ทานกัน

มองดูแต่ละคนบนโต๊ะอาหารแล้วหิ้วกันทั้งนั้น ทุกๆลงประจำเก้าอี้ของตัวเองและมีคนหนึ่งพูดว่า “อิตะไดกิมัส” เป็นการกล่าวก่อนการรับประทานอาหารและทุกๆคนก็พูดตามๆกัน คำว่า อิตะไดกิมัสนั้นหมายถึงการขอบคุณพืชผักผลไม้หมูเห็ดเป็ดไก่ที่เป็นอาหารให้กับเราและคนทำอาหารให้เรากินในมื้อแต่ละมื้อ และผมก็คิดว่าเป็นคำที่มีความหมายมาก ๆ

สาเกของคนญี่ปุ่นถูกจัดเตรีมในมื้อสำคัญ ๆ โดยเฉพาะในจังหวัดอาคิตะ มันทำให้ให้คนที่อายหรือเงียบนั้นกล้าที่จะพูดหรือกลายเป็นอีกคนหนึ่งเลยเมื่อพวกเขาดื่มแอลกอฮอล์เข้าไป พวกเขาพยายามที่จะสื่อสารกับฉันเป็นภาษาอังกฤษ และถ้าหากคุณได้มาที่ประเทศญี่ปุ่นแล้วละก็คุณน่าจะลองไปสรรสรรค์กับคนท้องถิ่นดูมันสนุกมาก(เยอรมันนี)